วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16


วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

-วันนี้อาจารย์ให้เขียนข้อดีและข้อจำกัดขอเท็ปเล็ต
ว่านักศึกษาคิอย่างไรกับการใช้กับชั้นประถมศึกษากับชั้นอนุบาล

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15

วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ.2555

-จัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตจันเกษม
-มี3เรื่องใหญ่ด้วยกันคือ เสียง การเปลี่ยนแปลง แม่เหล็ก
-มี 9 ฐาน ดังนี้
1.เสียง
-ลูกโป่ง
-การเดินทางของเสียง
-ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
2.การเปลี่ยนแปลง
-ขนมปังปิ่ง
-ขนมต้ม
-เกี๊ยวทอด
3.แม่เหล็ก
-แม่เหล็กมหาสนุก
-ลูกข่างเปลี่ยนสี
-แม่เหล็กมหัศจรรย์

                                     ฐานขนมปังปิ้ง

                  รายชื่อ
นางสาวรุ่งทิพย์  ศรีสุวรรณ
นางสาวสิริรัตน์  วุฒิยานันท์
นางสาววรรณธิดา  รัตนเมธีวรกุล









บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 11กันยายน พ.ศ.2555

-อาจารย์ให้นักศึกษาไปจัดกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศสตร์ให้นองๆ
โรงเรียนสาธิตโดยกลุ่มของดิฉันได้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
จัดเรื่องขนมปังปิ้ง


-เสียงมีแหล่งกำเนิดมาจากหลายที่ เช่น การสั่น , ผ่านช่องที่มีขนาดแตกต่างกัน

กิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

1.กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ >  เสียง การเคลื่อนไหว(กลไกลของร่างกาย,พลังงาน)
ตัวอย่างกิจกรรม  การใส่น้ำให้มีระดับต่างกัน เช่น
เคาะเสียงที่ 1 เดิน
เคาะเสียงที่ 2 หยุด
เคาะเสียงที่ 3 วิ่ง
เคาะเสียงที่ 4 ก้มหน้า
สิ่งที่ใช้ได้
-(ผ่านเนื้อเพลง)เพลงฉันคือเมฆ
-ผ่านนิทาน
*เด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อผ่านสิ่งเหล่านี้
2.กิจกรรมสร้างสรรค์
-การผลิตของเล่น 
-ศิลปะ>การเปลี่ยนแปลง
หลักทางวิทยาศาสตร์
.ตั้งคำถาม
.ลงมือทำ
.สังเกต
.บันทึก
3.กิจกรรมเสริมประสบการณ์
-กิจกรรมนี้มีวัตถุประสงค์สามารถมีการจัดการทดลองอย่างเป็นระบบ(สิ่งรอบตัว)
4.กิจกรรมกลางแจ้ง
-พลังงาน
-ต้องมีกิจกรรม เช่น เหยียบลูกโป่ง(ลูกโป่งมีอากาศอยู่ภายใน)
5.กิจกรรมเกมการศึกษา
-สังเกต จำแนก เปรียบเทียบ เนื้อหา 
3.1 จับคู่
3.2 ความสัมพันธ์ 2 แกน
3.3 จิ๊กซอ
3.4 เรียงลำดับเหตุการณ์


วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13


วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ.2555


วันนี้อาจารย์ให้ส่งบอร์ดและได้แนะนำแต่ละกลุ่มว่าควรจัดอย่างไรถึงจะเหมาะสม เช่น
-ในการจัดต้องเว้นที่ให้ติดเนื้อหาด้วย
-ควรติดดอกไม้ให้อยู่มุมใดมุมหนึ่ง
-ควรติดใบไม้ให้ว้อนกันและคละกันทั้งสั้นและยาวหรือคละสีกันสีเขียวอ่อนและสีเขียวเข้ม
อาจารย์ตรวจบอร์ด

                                   

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคารที่  28 สิงหาคม พ.ศ. 2555


จัดบอดร์กลุ่มละ 4 คน
รายชื่อ
นางสาวสิริรัตน์  วุฒิยานันท์
นางสาวรุ่งทิพย์ ศรีสุวรรณ
นางสาวศุภาญจน์ ช่วยสังคข์
นางสาวอาทิตยา ฤทธิเดช

บันทึกการอบรมการสร้างสื่อประยุกต์

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555 และ วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555



 ภาพกิจกรรม









                        

วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่11

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555

-อาจารย์ได้แจกหนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์(การทดลอง)โดยจับเป็นกลุ่ง 4 กลุ่ม
-ให้เลือกการทกลองมา 1 การทดลองและบอกแนวคิด ขั้นตอน และสรุป ของการทดลองนั้น





*งานที่อาจารย์มอบหมาย
- จับกลุ่ม 4 คน
- คิดกิจกรรมจาก 4 สาระ
- เขียนใส่กระดาษ
- มีแนวคิด ขั้นตอน ขั้นสรุป

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ไม่มีการเรียนการสอน

*เรียนชดเชยในวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2555

ไม่มีการเรียนการสอน

*มีการเรียนชดเชยในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วันอังคารที่  24 กรกฎาคม  พ.ศ. 2555

- วันที่ 18 สิงหาคม มีงานวิทยาศาสตร์ที่(ไบเทคบางนา)

วิทยาศาสตร์

แบ่งได้เป็น

1 สิ่งที่เป็นธรรมชาติ
2 สิ่งที่เป็นกายภาพ

สถานที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

1 ไบเทค (บางนา)
2 ท้องฟ้าจำลอง
3 พิพิทธภัณฑ์
-วิทยาศาสตร์
-เด็ก
-สัตว์น้ำบึงฉวาก
-โอเชียว
-สัตว์น้ำบางแสน

การเรียนรู้

1 ให้ดูเฉยๆ
2 ให้เด็กได้มีส่วนร่วม

ประโยชน์

- ประสบการณ์ตรง        -สนุกสนาน
-เพลิดเพลิน                  -ตื้นเต้น
-อิสระ                           -ได้ความรู้
-เกิดความสงสัย           -คำถาม
-ความรู้                        -อยากรู้ 
-แสวงหาและใฝ่รู้


-อาจารย์ได้มีการยกตัวอย่างในการคิดเชิงวิเราะห์

ช้าง

1 ลักษณะ
2  ที่อยู่
3 อาหาร
4 ประโยชน์
5 การขยายพันธ์
6 อาชีพ
7 ข้อควรระวัง

-อาจารย์ได้ยกตัวอย่างว่าถ้าเราจะสอนในเรื่องของลักษณะ
ลักษณะ
-เด็กสามารถบอกชื่อและชนิดของช้างได้
ขั้นนำ ครูให้เด็กต่อจิ๊กซอที่มี 2 ส่วน/หรือจะใช้นิทานที่เกี่ยวกับช้างก็ได้
ขั้นสอน ครูใช้คำถามเด็ก(ระดมความคิด) เช่น
>สิ่งที่เด็กๆรู้เกี่ยวกับช้างมีอะไรบ้าง
>เด็กๆอยากรู้อะไรที่เกี่ยวกับช้างบ้าง
ขั้นสรุป ใช้เกม

ออกแบบการจัดกิจกรรม 

-ทัศนศึกษา        -ไปห้องสมุด          -บทบาทสมมติ
-เล่นเกมส์           -ทำศิลปะทำหนังสือ 
-แต่งเพลง/คำคล้องจอง

-ไม่ควรให้เด็กท่องจำเพราะจะทำให้ขัดต่อการเรียนรู้ของเด็ก
เพราะเด็กเรียนรุ็ด้วยการปฎิบัติ
ทำไมถึงต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ระดมความคิดแล้วเราต้องเปิดโอกาส
- เด็กเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง
- กล้าแสดงออก
- ประสบผลสำเร็จในการหาคำตอบ


งานที่อาจารย์มอบหมาย
- เขียนแผน ส่งวัน ศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555
- จับกลุ่ม 9 คน ทดลอง 1 อย่าง

วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันอังคารที่  17  กรฎาคม พ.ศ. 2555


-นำเสนองานที่ต้องแก้ไขในสัปดาที่แล้ว

-ทำไมเราจึงต้องมีการทำสื่อให้เด็กเล่นเอง
1.การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการเล่น
2.การเล่นทำให้เด็กเกิดประสบการณ์
3.การเล่นทำให้เกิดทักษะต่างๆ
4.การเล่นมีการได้ลองผิดลองถูก

-การเล่นเป็นเครื่องมือทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-การสร้างของเล่นทำให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์
การสอนเด็กทำ
1.เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง
2.เด็กได้รู้จักการเรียงลำดับขั้นตอน
3.เด็กได้รู้จักการใช้คำถาม เช่น ทำไม เพราะอะไร เป็นต้น

*การสะท้อน > ถ้าอยากให้เด็กได้เชิงวิทยาศาสตร์โดยการทำของเล่นเชิงเนื้อหาโดยผ่านของเล่น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันอังคารที่  10  กรกฎาคม  พ.ศ. 2555


วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานคู่เกี่ยวกับสื่อวิทยาศาสตร์
1.งานแรกคือของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถเล่นได้เอง

ขั้นตอนการทำกลองพ่อแม่ลูก

-นำกระป๋องถั่วที่มีความแข็งมา 4 กระป๋อง
-ใส่น้ำในแต่ละกระป๋องให้มีระดับน้ำที่ไม่เท่ากัน
-นำลูกโป่งมาขึงบนส่วนบนของกระป๋อง 2 ชั้น
-ตกแต่งให้สวยงามตามจิตนาการ
-นำตะเกียบมา 1 คู่ และนำดินน้ำมันมาพันบนหัวของเกียบ(ไม้กลอง)
*ในการทำกลองนี้ผลที่เกิดขึ้นก็คือเสียงที่มีความแตกต่างกันเพราะระดับ
ของน้ำมีความแตกต่างกันถ้ามีน้ำน้อยเสียงที่ตีออกมาจะมีเสียงที่แหลม
และถ้าใส่น้ำมากเสียงที่ได้จะเป็นเสียงที่ไม่แหลม


กลองพ่อแม่ลูก


2.งานนี้เป็นของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเด็กสามารถที่จะทำได้เอง

ขั้นตอนการทำวิ่งแข็งกันไหม

-เลือกรูปที่ตัวเองต้องการ (เป็นกระดาษร้อยปอนด์ของเก่า ที่เคยทำไปถ่ายเอกสาร)
-เลือกรูปที่ตัวเองชอบแล้ว นำมาระบายสีให้สวยงาม
-นำเอาหลอดมาตัดให้สั้นพอเหมาะ แล้วเอากาวมาทาหลอดแล้วติดไว้ข้างหลังรูปภาพที่เราระเบียบเอาไว้
-นำด้ายมาแบ่งให้เป็น2เส้นเท่าๆๆกัน แล้วมัดปมไว้ ทั้ง 2 เส้น
-นำด้ายมาร้อยให้อยุ่ข้างในหลอด ทั้ง2 เส้น แล้วก็มัดปมไว้ เพื่อไม่ให้มันหล่น
-เราจะเอารูปภาพอะไรก็ได้ ไม่ใช่สัตว์ อาจจะเป็นรูปหน้าคน สิ่งของต่างๆ  เพื่อความแตกต่างกัน
*ในการทำของเล่นที่เด็กสามารถทำได้เองซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คือการที่แรงของเรากระทำต่อเชือกเกิดการเสียดสีกันและก็ดันกระต่ายและนกไปด้านหน้าได้โดยของเล่นชิ้นนี้สามารถทำได้ง่ายๆเหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย

วิ่งแข็งกันไหม

ภาพการนำเสนอหน้าชั้นเรียน








วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ดูคลิปเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ
- ร่างกายของมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 70%
- ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90%
- เมื่อร่างกายของคนเราขาดน้ำร่างกายก็จะมีอาการอ่อนเพลีย
- มนุษย์เรานั้นขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
ฝน
-ของแข็ง > ของเหลว > ก๊าซ > เมื่อกระทบกับความเย็น
ก็จะควบแน่นเกิดเป็นของเหลวอีกครั้งคือฝน
ประโยชน์จากการดูคลิป
(1) สาระในการรู้ (เนื้อหา)
(2) เทคนิคในการนำเสนอ (ภาพ ตัวอย่าง)
(3) การจัดลำดับเรื่องราว (จากใหญ่ไปเล็ก)
(4) แนวคิดข้อคิด (น้ำเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิต)

- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก > ลงมือกระทำ ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
- ถ้าจะทำอะไรที่เป็นเรื่องยากควรที่จะใช้สื่อ

งาน

(1) ทำสื่่อที่เด็กสามารถเล่นได้ด้วยตนเป็นสื่อทางวิทยาศาสตร์
- วัสดุ
- วิธีการ
- ถ่ายรูป
- ใช้เศษวัสดุ
(2) หาวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์เพื่อสอนให้เด็กทำ


วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่3

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

- เครื่องมือในการเรียนรู้ > ภาษา คณิตศาสตร์

      การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
- ขั้นที่ 1  แรกเกิด-2 ขวบ
- ขั้นที่ 2  2-4 ปี
- ขั้นที่ 3  4-6 ปี
- ในการจัดประสบการณ์ต้องเป็นรูปธรรม

กระบวนการทางวิทยาศาศตร์

(1) กระบวนการเบื้องต้น
- การสังเกต (สอดคล้องกับวิธ๊การเรียนรู้ของเด็ก)
- การวัด (ปริมาณ)
- การจำแนกประเภท (หาเกณฑ์)
- การหาความสัมพันธ์ (ความเหมือน ความตรงข้าม ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน)
- การสื่อความหมาย (สัญลักษณ์)
- การคำนวณ
- การพยากรณ์
(2) กระบวนการแบบผสม
- ตั้งสมมติฐาน
- กำหนดเชิงปฎิบัติการ
- การกำหนดและควบคุมตัวแปร
- การทดลอง
- ตีความและสรุป

วิธีการจัด
(1) เป็นทางการ
- รูปแบบผสมผสาน (โครงการวิทยาศาสตร์)
- มีจุดมุ่งหมาย
(2) ไม่เป็นทางการ
- มุมวิทยาศาสตร์
- สภาพ
(3) จัดแบบตามเหตุการณ์
- สิ่งที่พบเห็น
- ธรรมชาติ

การใช้สื่อ
- เลือก(เนื้อหา สถานที่ พัฒนาการ การเรียนรู้)
- เตรียม
- ใช้
- ประเมิน


วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่2

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2555
-อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนความคาดหวังในรายวิชานี้

การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

(1) การจัดประสบการณ์ > เทคนิค> หลักการจัดประสบการณ์
> ทฤษฎี > กระบวนการจัด > สื่อ/จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุน
ในการจัดประสบการณ์ > การประเมินผล
(2) วิทยาศาสตร์ > สาระทางวิทยาศสสตร์ > ทักษะทางวิทยาศาสตร์
(3) เด็กปฐมวัย > พัฒนาการ > วิธีการเรียนรู้

ทักษะทางวิทยาศาสตร์

- ทักษะทางการสังเกต
- ทักษะทางจำแนกประเภท
- ทักษะการวัด
- ทักษะการหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส
- ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
- ทักษะการจักกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
- ทักษะการพยากรณ์
- ทักษะการคำนวณ

สาระทางวิทยาศาสตร์

- ตัวฉัน
- ธรรมชาติ
- บุคคล
- สถานที่

-พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง
- การพัฒนาเกิดขึ้นได้ คือ การเรียนรู้

งาน

-อาจารย์ให้ไปดูพัฒนาการทางสติปัญญา(ตัวไหนที่่วิทยาศาสตร์เด็กอายุ 5 ปี)แล้วโพลต์ขึ้นบล็อก
-อาจารย์ให้จับกลุ่มกัน 3 - 4 คน ให้ช่วยกันคิด 1 เรื่องและแตกเนื้อหาออกมา


งานที่ส่ง

พัฒนาการทางสติปัญญาเด็กวัย 5 ปี

การพัฒนาด้านสติปัญญาของเด็กในวัยนี้ ควรให้เขาเล่นหรือทำกิจกรรมที่เขาสนใจ และเหมาะสม โดยให้เขาทำด้วยตัวเอง เมื่อเขาทำอะไรได้ดีควรจะชม หรือแสดงความยินดีกับเขา ในด้านความคิดความมีเหตุผล และความจำของเด็กในวัยนี้จะยังมีขีดจำกัด เขาจะเรียนรู้ได้มากจากสิ่งรอบตัว การคิดการแก้ปัญหาจะพัฒนาขึ้นในการได้ทำกิจกรรมต่างๆ และสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว ควรให้เขาอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เด็กวัยนี้จะแยกแยะสิ่งของต่างๆได้ จำชื่อคนที่มาเล่นด้วย หรือสัตว์เลี้ยงได้

 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่1

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555

-วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม
-อาจารย์ได้ให้งานนักศึกษา
(1)  ทำบล็อควิทยาศาสตร์
(2)  ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.

(3)  ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อค
(4)  ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)